พระราชบัญญัติงาช้าง พ.ศ. ๒๕๕๘
เพื่อให้เป็นไปตามกฏหมายดังกล่าว สมาชิกทุกท่านต้องอ่านทำความเข้าใจและปฏิบัติตามอย่างเคร่งคัด
เหรียญพระแก้วมร...
เหรียญพระแก้วมรกต ฉลองกรุง ๑๕๐ ปี พ.ศ.๒๔๗๕
เหรียญพระแก้วมรกต ฉลองกรุง ๑๕๐ ปี สร้างปี ๒๔๗๕ บล๊อกในเนื้อทองขาวเนื้ออัลปาก้า สวย ๆ เหรียญพระแก้วมรกต ที่ระลึกกรุงรัตนโกสินทร์ 150 ปี เป็นเหรียญปั๊มพิมพ์กลมแบน ขอบเรียบ ด้านหน้าเหรียญ ภายในซุ้มเรือนแก้วเป็นรูป พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร พระแก้วมรกต ปางสมาธิ ประทับนั่งบนฐานบัวคว่ำบัวหงาย มีผ้าทิพย์ห้อย และดอกไม้อยู่โดยรอบ ด้านหลังเหรียญ เป็นรูปยันต์กงจักร มีอักษรจารึก มรรค 8 อักขระขอมที่ปรากฏ คือ ทิ คือ สัมมาทิฐิ สํ คือ สัมมาสังกัปโป วา คือ สัมมาวาจา กํ คือ สัมมากัมมันโต อา คือ สัม อาชิโว วา คือ สัมมา วายาโม ส คือ สัมมา สติ สํ คือ สัมมาสมาธิ
ประวัติ เหรียญพระแก้วมรกต พิธีใหญ่ 2475

สร้างในวาระฉลองกรุงรัตนโกสินทร์ 150 ปี เป็นพระพิธีใหญ่ พระเกจิดังๆในยุคนั้น เข้าพิธีมากมาย
ด้านหน้าเหรียญ ภายในซุ้มเรือนแก้วเป็นรูป พระแก้วมรกต ประทับนั่งบนฐานบัวคว่ำบัวหงาย มีผ้าทิพย์ห้อย และดอกไม้อยู่โดยรอบ

ด้านหลังเหรียญ เป็นรูปยันต์กงจักร มีอักษรจารึก มรรค 8 อักขระขอมที่ปรากฏ คือ

ทิ คือ สัมมาทิฐิ
สํ คือ สัมมาสังกัปโป
วา คือ สัมมาวาจา
กํ คือ สัมมากัมมันโต
อา คือ สัม อาชิโว
วา คือ สัมมา วายาโม
ส คือ สัมมา สติ
สํ คือ สัมมาสมาธิ


รายนามพระเกจิอาจารย์ ที่ร่วมพิธี พระแก้วมรกตปี 2475

1.พระเจ้าวรวงศ์เธอกรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า วัดราชบพิตร
2. สมเด็จพระวันรัต ( แพ ติสสเทโว ) วัดสุทัศน์
3. พระโพธิวงศาจารย์(นวม) วัดอนงคาราม
4. สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เข้ม) วัดโพธิ์
5. หลวงพ่อคง วัดซำป่าง่าม ฉะเชิงเทรา
6. หลวงพ่อเข้ม วัดม่วง ราชบุรี
7. หลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว
8. หลวงพ่อจันทร์ วัดนางหนู ลพบุรี
9. หลวงปู่รอด วัดทุ่งศรีเมือง อุบลฯ
10. หลวงพ่อเปี้ยน วัดโพธิราม สุพรรณบุรี
11. หลวงพ่อกรัก วัดอัมพวัน ลพบุรี
12. เจ้าคุณอุบาลี สิริจันโท วัดบรมนิวาส
13. หลวงพ่อช่วง วัดปากน้ำ สุมทรสงคราม
14. หลวงพ่อแฉ่ง วัดพิกุลเงิน นนทบุรี
15. หลวงพ่อพุ่ม วัดบางโคล่
16. หลวงพ่อพริ้ง วัดบางปะกอก
17. หลวงพ่อฉาย วัดพนัญเชิง อยุธยา
18. หลวงพ่อลา วัดแก่งคอย สระบุรี
19. หลวงพ่อไปล่ วัดกำแพง
20. หลวงพ่อเดิม วัดหนองโพธิ์ นครสวรรค์
21. หลวงพ่อบ่าย วัดช่องลม สุมทรสงคราม
22. หลวงพ่อลา วัดโพธิ์ศรี สิงห์บุรี
23. หลวงพ่อเปลี่ยน วัดใต้ กาญจนบุรี
24. หลวงพ่ออี๋ วัดสัตหีบ ชลบุรี
25. หลวงพ่อทอง วัดเขากบ นครสวรรค์
26. หลวงพ่อคง วัดท่าหลวงพล ราชบุรี
27. หลวงพ่อสอน วัดป่าเลไลย์ สุพรรณบุรี
28. หลวงพ่อคง วัดบางกะพร้อม สุมทรสงคราม
29. หลวงพ่อชม วัดพุทไธสวรรค์ อยุธยา
30. หลวงพ่อรุ่ง วัดท่ากระบือ สุมทรสงคราม
31. หลวงพ่อพวง วัดหนองกระโดน นครสวรรค์
32. หลวงพ่อคง วัดใหม่บำเพ็ญบุญ
33. หลวงพ่อญัติ วัดสายไหม ปทุมธานี
34. หลวงพ่อพร วัดดอนเมือง
35. หลวงพ่อเผือก วัดกิ่งแก้ว
36. หลวงพ่อศรี วัดพระปรางค์ สิงห์บุรี
37. หลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก อยุธยา
38. หลวงพ่อจาด วัดบางกระเบา
39. หลวงพ่อพิธ วัดฆะฆัง พิจิตร
40. หลวงพ่อจันทร์ วัดบ้านยาง ราชบุรี
41. หลวงพ่อสด วัดปากน้ำ
42. หลวงพ่อเปี่ยม วัดเกาะหลัก
43. หลวงพ่อสนธิ์ วัดสุทัศน์


จากใบประกาศบอกบุญในการปฏิสังขรณ์ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม พ.ศ.2473 บ่งบอก ให้ทราบว่า การดำเนินการจัดสร้างเหรียญพระแก้วมรกตนั้น มีการดำเนินการ ในช่วงระยะก่อน จะทำการบูรณะ ปฏิสังขรณ์ และได้เปิดให้ประชาชน ได้ร่วมสมทบทุนร่วม บูรณะวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ในปี พ.ศ.2473 ดังปรากฏข้อความ ในใบประกาศบอกบุญว่า
โดยให้กระทรวงพระคลังมหาสมบัติจัดพนักงานรับเรี่ยไร โดยมีใบเสร็จ และเหรียญพระแก้วตอบแทน เป็นที่ระลึก ตามชั้นและจำนวนเงินที่บริจาค ดังต่อไปนี้
1. ผู้บริจาค ตั้งแต่ 100 บาทขึ้นไป พระราชทานเหรียญพระแก้วทองคำ
2. ผู้บริจาค ตั้งแต่ 20 บาทขึ้นไป พระราชทานเหรียญพระแก้วเงิน
3. ผู้บริจาค ตั้งแต่ 5 บาทขึ้นไป พระราชทานเหรียญพระแก้วทองขาว (นิเกิล)
4. ผู้บริจาค ตั้งแต่ 1 บาทขึ้นไป พระราชทานเหรียญพระแก้วทองแดง.......


อย่างไรก็ตามประกาศระเบียบการรับเงินเรี่ยไรการปฏิสังขรณ์วัดพระศรีรัตนศาสดาราม หอรัษฏากรพิพัฒน์ 16 กันยายน พ.ศ.2473 ยังได้กล่าวไว้ว่า
ผู้บริจาค ตั้งแต่ 5 บาทขึ้นไป กรรมการจะได้รวบรวมรายนามประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา เป็นคราวๆ


เหรียญพระแก้วมรกต ที่ระลึกกรุงรัตนโกสินทร์ 150 ปี เป็นเหรียญปั๊มพิมพ์กลมแบน ขอบเรียบ
ที่ริมขอบเหรียญด้านหลังบางเหรียญ จะมีชื่อผู้ผลิตดังนี้ เพาะช่าง สุวรรณประดิษฐ์ นาถาจารุประกร ฮั่งเตียนเซ้ง และ Georges Hantz Geneve U.G.D.


นอกจากนั้นยังมี เหรียญพระแก้วมรกต อีกแบบหนึ่งซึ่งพบเห็นกันน้อยมาก เป็นเหรียญกลม มีหูเชื่อม ลักษณะพิมพ์ด้านหน้า เหมือนกับเหรียญ พระแก้วมรกตที่ได้กล่าวไปแล้ว หากแต่ในส่วนของด้านหลัง จะมีความแปลก ต่างไปจากกัน คือ เป็นข้อความอักษรเรียงกัน 5 บรรทัด ว่า ที่ระฤก ในงานฉลอง วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ครบรอบ ๑๕๐ ปี พ.ศ.๒๔๗๕ อักษรมีทั้งแบบตัวนูน และแบบตัวลึกลงไปในเนื้อเหรียญ พบเห็นมี 2 เนื้อด้วยกัน คือ เนื้อเงิน และ ทองแดงกะไหล่ทอง เหรียญพิมพ์นี้ เนื้อเงินเช่าหากันที่หลักหมื่นเศษๆ ส่วนเนื้อทองแดงกะไหล่ทอง อยู่ในหลักพันแก่ ๆ


สำหรับ เหรียญพระแก้วมรกต ที่ระลึกกรุงรัตนโกสินทร์ 150 ปี บล็อกที่สั่งทำจาก ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ซึ่งมีอักษรบ่งบอกอยู่ที่ด้านหลังเหรียญไว้ว่า Georges Hantz Geneve U.G.D. หรือที่นักสะสมพระเครื่องเรียกกันว่า "บล็อกนอก" เป็นที่นิยมมากที่สุด และมีมูลค่าการสะสมสูงกว่าเหรียญ "บล็อกใน" มาก
กล่าวคือ "บล็อกนอก" เนื้อทองคำอยู่ที่หลายแสนบาท เนื้อเงินสวยๆหลายหมื่นบาท เนื้ออัลปาก้า ก็อยู่ในหลักหมื่นเศษ ๆ


ส่วนเหรียญ"บล็อกใน" เนื้อทองคำ หลายหมื่นบาท เนื้อเงิน หลักพันกลาง ๆ เนื้อทองและเนื้อนิเกิล (อัลปาก้า) อยู่ในหลักพันกว่าบาทเท่าๆ กัน จะถูกแพงกว่ากันก็อยู่ที่ความสวยงามคมชัดเท่านั้น

ที่มา - โกดังเก็บของ [แดนอลัยกะ] • View topic - ประวัติ เหรียญพระแก้วมรกต พิธีใหญ่ 247
ผู้เข้าชม
1533 ครั้ง
ราคา
โชว์พระ
สถานะ
มาใหม่
โดย
ชื่อร้าน
ศรีสะเกษ พระเครื่อง , "รัฐ ศรีสะเกษ"
ร้านค้า
ไอดีไลน์
utthisen1
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
ยังไม่ส่ง ข้อมูลยืนยันตัวตน

ผู้เข้าใช้งานล่าสุด
โกหมูพล ปากน้ำทองธนบุรีKumpangเจริญสุขtookrangsit
nenggggจ่าดี พระกรุมงคลเก้าaonsamuiขนุนฉลองกรุงponsrithong2
เปียโนjochoholypanyadvmErawanนิรวัจ พิมายน้ำตาลแดง
chaithawatPopgomesอ้วนโนนสูงbuachomphuchaokohzxc12056
บี บุรีรัมย์Nithipornอภินันต์ พระเครื่องchathanumaanชา วานิชชาวานิช

ผู้เข้าชมขณะนี้ 1311 คน

เพิ่มข้อมูล

เหรียญพระแก้วมรกต ฉลองกรุง ๑๕๐ ปี พ.ศ.๒๔๗๕



  ส่งข้อความ



ชื่อพระเครื่อง
เหรียญพระแก้วมรกต ฉลองกรุง ๑๕๐ ปี พ.ศ.๒๔๗๕
รายละเอียด
เหรียญพระแก้วมรกต ฉลองกรุง ๑๕๐ ปี สร้างปี ๒๔๗๕ บล๊อกในเนื้อทองขาวเนื้ออัลปาก้า สวย ๆ เหรียญพระแก้วมรกต ที่ระลึกกรุงรัตนโกสินทร์ 150 ปี เป็นเหรียญปั๊มพิมพ์กลมแบน ขอบเรียบ ด้านหน้าเหรียญ ภายในซุ้มเรือนแก้วเป็นรูป พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร พระแก้วมรกต ปางสมาธิ ประทับนั่งบนฐานบัวคว่ำบัวหงาย มีผ้าทิพย์ห้อย และดอกไม้อยู่โดยรอบ ด้านหลังเหรียญ เป็นรูปยันต์กงจักร มีอักษรจารึก มรรค 8 อักขระขอมที่ปรากฏ คือ ทิ คือ สัมมาทิฐิ สํ คือ สัมมาสังกัปโป วา คือ สัมมาวาจา กํ คือ สัมมากัมมันโต อา คือ สัม อาชิโว วา คือ สัมมา วายาโม ส คือ สัมมา สติ สํ คือ สัมมาสมาธิ
ประวัติ เหรียญพระแก้วมรกต พิธีใหญ่ 2475

สร้างในวาระฉลองกรุงรัตนโกสินทร์ 150 ปี เป็นพระพิธีใหญ่ พระเกจิดังๆในยุคนั้น เข้าพิธีมากมาย
ด้านหน้าเหรียญ ภายในซุ้มเรือนแก้วเป็นรูป พระแก้วมรกต ประทับนั่งบนฐานบัวคว่ำบัวหงาย มีผ้าทิพย์ห้อย และดอกไม้อยู่โดยรอบ

ด้านหลังเหรียญ เป็นรูปยันต์กงจักร มีอักษรจารึก มรรค 8 อักขระขอมที่ปรากฏ คือ

ทิ คือ สัมมาทิฐิ
สํ คือ สัมมาสังกัปโป
วา คือ สัมมาวาจา
กํ คือ สัมมากัมมันโต
อา คือ สัม อาชิโว
วา คือ สัมมา วายาโม
ส คือ สัมมา สติ
สํ คือ สัมมาสมาธิ


รายนามพระเกจิอาจารย์ ที่ร่วมพิธี พระแก้วมรกตปี 2475

1.พระเจ้าวรวงศ์เธอกรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า วัดราชบพิตร
2. สมเด็จพระวันรัต ( แพ ติสสเทโว ) วัดสุทัศน์
3. พระโพธิวงศาจารย์(นวม) วัดอนงคาราม
4. สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เข้ม) วัดโพธิ์
5. หลวงพ่อคง วัดซำป่าง่าม ฉะเชิงเทรา
6. หลวงพ่อเข้ม วัดม่วง ราชบุรี
7. หลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว
8. หลวงพ่อจันทร์ วัดนางหนู ลพบุรี
9. หลวงปู่รอด วัดทุ่งศรีเมือง อุบลฯ
10. หลวงพ่อเปี้ยน วัดโพธิราม สุพรรณบุรี
11. หลวงพ่อกรัก วัดอัมพวัน ลพบุรี
12. เจ้าคุณอุบาลี สิริจันโท วัดบรมนิวาส
13. หลวงพ่อช่วง วัดปากน้ำ สุมทรสงคราม
14. หลวงพ่อแฉ่ง วัดพิกุลเงิน นนทบุรี
15. หลวงพ่อพุ่ม วัดบางโคล่
16. หลวงพ่อพริ้ง วัดบางปะกอก
17. หลวงพ่อฉาย วัดพนัญเชิง อยุธยา
18. หลวงพ่อลา วัดแก่งคอย สระบุรี
19. หลวงพ่อไปล่ วัดกำแพง
20. หลวงพ่อเดิม วัดหนองโพธิ์ นครสวรรค์
21. หลวงพ่อบ่าย วัดช่องลม สุมทรสงคราม
22. หลวงพ่อลา วัดโพธิ์ศรี สิงห์บุรี
23. หลวงพ่อเปลี่ยน วัดใต้ กาญจนบุรี
24. หลวงพ่ออี๋ วัดสัตหีบ ชลบุรี
25. หลวงพ่อทอง วัดเขากบ นครสวรรค์
26. หลวงพ่อคง วัดท่าหลวงพล ราชบุรี
27. หลวงพ่อสอน วัดป่าเลไลย์ สุพรรณบุรี
28. หลวงพ่อคง วัดบางกะพร้อม สุมทรสงคราม
29. หลวงพ่อชม วัดพุทไธสวรรค์ อยุธยา
30. หลวงพ่อรุ่ง วัดท่ากระบือ สุมทรสงคราม
31. หลวงพ่อพวง วัดหนองกระโดน นครสวรรค์
32. หลวงพ่อคง วัดใหม่บำเพ็ญบุญ
33. หลวงพ่อญัติ วัดสายไหม ปทุมธานี
34. หลวงพ่อพร วัดดอนเมือง
35. หลวงพ่อเผือก วัดกิ่งแก้ว
36. หลวงพ่อศรี วัดพระปรางค์ สิงห์บุรี
37. หลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก อยุธยา
38. หลวงพ่อจาด วัดบางกระเบา
39. หลวงพ่อพิธ วัดฆะฆัง พิจิตร
40. หลวงพ่อจันทร์ วัดบ้านยาง ราชบุรี
41. หลวงพ่อสด วัดปากน้ำ
42. หลวงพ่อเปี่ยม วัดเกาะหลัก
43. หลวงพ่อสนธิ์ วัดสุทัศน์


จากใบประกาศบอกบุญในการปฏิสังขรณ์ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม พ.ศ.2473 บ่งบอก ให้ทราบว่า การดำเนินการจัดสร้างเหรียญพระแก้วมรกตนั้น มีการดำเนินการ ในช่วงระยะก่อน จะทำการบูรณะ ปฏิสังขรณ์ และได้เปิดให้ประชาชน ได้ร่วมสมทบทุนร่วม บูรณะวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ในปี พ.ศ.2473 ดังปรากฏข้อความ ในใบประกาศบอกบุญว่า
โดยให้กระทรวงพระคลังมหาสมบัติจัดพนักงานรับเรี่ยไร โดยมีใบเสร็จ และเหรียญพระแก้วตอบแทน เป็นที่ระลึก ตามชั้นและจำนวนเงินที่บริจาค ดังต่อไปนี้
1. ผู้บริจาค ตั้งแต่ 100 บาทขึ้นไป พระราชทานเหรียญพระแก้วทองคำ
2. ผู้บริจาค ตั้งแต่ 20 บาทขึ้นไป พระราชทานเหรียญพระแก้วเงิน
3. ผู้บริจาค ตั้งแต่ 5 บาทขึ้นไป พระราชทานเหรียญพระแก้วทองขาว (นิเกิล)
4. ผู้บริจาค ตั้งแต่ 1 บาทขึ้นไป พระราชทานเหรียญพระแก้วทองแดง.......


อย่างไรก็ตามประกาศระเบียบการรับเงินเรี่ยไรการปฏิสังขรณ์วัดพระศรีรัตนศาสดาราม หอรัษฏากรพิพัฒน์ 16 กันยายน พ.ศ.2473 ยังได้กล่าวไว้ว่า
ผู้บริจาค ตั้งแต่ 5 บาทขึ้นไป กรรมการจะได้รวบรวมรายนามประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา เป็นคราวๆ


เหรียญพระแก้วมรกต ที่ระลึกกรุงรัตนโกสินทร์ 150 ปี เป็นเหรียญปั๊มพิมพ์กลมแบน ขอบเรียบ
ที่ริมขอบเหรียญด้านหลังบางเหรียญ จะมีชื่อผู้ผลิตดังนี้ เพาะช่าง สุวรรณประดิษฐ์ นาถาจารุประกร ฮั่งเตียนเซ้ง และ Georges Hantz Geneve U.G.D.


นอกจากนั้นยังมี เหรียญพระแก้วมรกต อีกแบบหนึ่งซึ่งพบเห็นกันน้อยมาก เป็นเหรียญกลม มีหูเชื่อม ลักษณะพิมพ์ด้านหน้า เหมือนกับเหรียญ พระแก้วมรกตที่ได้กล่าวไปแล้ว หากแต่ในส่วนของด้านหลัง จะมีความแปลก ต่างไปจากกัน คือ เป็นข้อความอักษรเรียงกัน 5 บรรทัด ว่า ที่ระฤก ในงานฉลอง วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ครบรอบ ๑๕๐ ปี พ.ศ.๒๔๗๕ อักษรมีทั้งแบบตัวนูน และแบบตัวลึกลงไปในเนื้อเหรียญ พบเห็นมี 2 เนื้อด้วยกัน คือ เนื้อเงิน และ ทองแดงกะไหล่ทอง เหรียญพิมพ์นี้ เนื้อเงินเช่าหากันที่หลักหมื่นเศษๆ ส่วนเนื้อทองแดงกะไหล่ทอง อยู่ในหลักพันแก่ ๆ


สำหรับ เหรียญพระแก้วมรกต ที่ระลึกกรุงรัตนโกสินทร์ 150 ปี บล็อกที่สั่งทำจาก ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ซึ่งมีอักษรบ่งบอกอยู่ที่ด้านหลังเหรียญไว้ว่า Georges Hantz Geneve U.G.D. หรือที่นักสะสมพระเครื่องเรียกกันว่า "บล็อกนอก" เป็นที่นิยมมากที่สุด และมีมูลค่าการสะสมสูงกว่าเหรียญ "บล็อกใน" มาก
กล่าวคือ "บล็อกนอก" เนื้อทองคำอยู่ที่หลายแสนบาท เนื้อเงินสวยๆหลายหมื่นบาท เนื้ออัลปาก้า ก็อยู่ในหลักหมื่นเศษ ๆ


ส่วนเหรียญ"บล็อกใน" เนื้อทองคำ หลายหมื่นบาท เนื้อเงิน หลักพันกลาง ๆ เนื้อทองและเนื้อนิเกิล (อัลปาก้า) อยู่ในหลักพันกว่าบาทเท่าๆ กัน จะถูกแพงกว่ากันก็อยู่ที่ความสวยงามคมชัดเท่านั้น

ที่มา - โกดังเก็บของ [แดนอลัยกะ] • View topic - ประวัติ เหรียญพระแก้วมรกต พิธีใหญ่ 247
ราคาปัจจุบัน
โชว์พระ
จำนวนผู้เข้าชม
1544 ครั้ง
สถานะ
มาใหม่
โดย
ชื่อร้าน
ศรีสะเกษ พระเครื่อง , "รัฐ ศรีสะเกษ"
URL
เบอร์โทรศัพท์
089-9472827มือถือ 045-612139 บ้านพัก 045-612577
ID LINE
utthisen1
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
ยังไม่ส่ง ข้อมูลยืนยันตัวตน




กำลังโหลดข้อมูล

หน้าแรกลงพระฟรี